SAP คือ โปรแกรมที่ช่วยจัดการสายงานทุกสายงานของธุรกิจให้สามารถเข้าถึงข้อมูลได้ อย่างรวดเร็ว และได้ข้อมูลที่ถูกต้องแม่นยำ
สามารถนำไปใช้ประกอบการดำเนินกิจกรรมของธุรกิจได้ และผู้บริหารสามารถเรียกดูข้อมูลและตรวจสอบข้อมูลสถานะของบริษัทได้
ใน SAP เองมี Modules หลายๆ Modules ที่มีหน้าที่ทำงานแตกต่างกัน แต่สอดประสานกัน
ในแต่ละ Modules จะส่งข้อมูลที่เกี่ยวเนื่องกัน ถึงกัน โดยไม่ต้องป้อนข้อมูลซ้ำซ้อนในแต่ละ Modules และ
มีการพัฒนาขึ้นมาในลักษณะของ Based on Best Practice in Industry
กล่าวโดยสรุป SAP (System Application products) เป็นโปรแกรมสำเร็จรูปทางธุรกิจประเภท ERP (Enterprise Resource Planning)
ของประเทศเยอรมันที่ใช้ควบคุมดูแลทุกสายงานของบริษัท
Application Module หลักๆในระบบ SAP
* FI Financial Accounting หรือโมดูลทางด้านบัญชีการเงิน
* CO Controlling หรือโมดูลทางด้านบัญชีจัดการหรือบัญชีบริหาร
* AM Fixed Assets Management หรือโมดูลทางด้านการจัดกาสินทรัพย์ถาวร
* SD Sale & Distributions หรือโมดูลทางด้านขายและการกระจายสินค้า
* MM Material Management หรือโมดูลทางด้านการจัดการวัตถุดิบ
* PP Production Planning หรือโมดูลทางด้านการวางแผนการผลิต
* QM Quality Management หรือโมดูลทางด้านการจัดการด้านคุณภาพ
* PM Plant Maintenance หรือโมดูลทางด้านการซ่อมบำรุงโรงงาน
* HR Human Resource หรือโมดูลทางด้านการจัดการทรัพยากรบุคคล
* TR Treasury หรือโมดูลทางด้านการบริหารการเงิน
* WF Workflow หรือโมดูลทางด้าน Flow ของกระบวนการทำงาน
* IS Industry Solutions คือส่วนระบบงานธุรกิจเฉพาะ โดยที่ไม่ใช่โมดูลมาตร
* Project Systems - PS
* System Management - BASIS
* Advanced Business Application Programming - ABAP
* Business Information Warehousing - BIW
* Customer Relationship Management - CRM
* Advanced Planner Optimizer - APO
* Product Lifecycle Management - PLM
ที่มา : http://mfatix.com/home/node/43
ปล.เห็นว่่าน่าสนใจดี เผื่อบางคนยังไม่รู้ ^o^
เพิ่มเติม : ปัจจุบันโปรแกรม ERP ที่มีผู้ใช้กันแบ่งได้ตามขนาดขององค์กรคือ องค์กรขนาดใหญ่ จะใช้โปรแกรม SAP, Oracle Application
องค์กรระดับกลาง จะใช้โปรแกรม Navision, PeopleSoft, MySAP โปรแกรม ERP ภายในประเทศ
และองค์กระดับเล็ก จะใช้โปรแกรม JDE หรือโปรแกรม ERP ภายในประเทศ
การที่แต่ละองค์กรจะเลือกใช้โปรแกรม ERP ไหนนั้นควรจะคำนึงถึงในเรื่องของความเหมาะสมของโปรแกรมว่ารองรับกับการทำงานได้มากน้อยขนาดไหน
องค์กรจะต้องปรับตัวเข้ากับการทำงานของโปรแกรมหรือไม่ และองค์กรสามารถจ่ายค่าโปรแกรมและค่าที่ปรึกษาได้หรือไม่
สามารถนำไปใช้ประกอบการดำเนินกิจกรรมของธุรกิจได้ และผู้บริหารสามารถเรียกดูข้อมูลและตรวจสอบข้อมูลสถานะของบริษัทได้
ใน SAP เองมี Modules หลายๆ Modules ที่มีหน้าที่ทำงานแตกต่างกัน แต่สอดประสานกัน
ในแต่ละ Modules จะส่งข้อมูลที่เกี่ยวเนื่องกัน ถึงกัน โดยไม่ต้องป้อนข้อมูลซ้ำซ้อนในแต่ละ Modules และ
มีการพัฒนาขึ้นมาในลักษณะของ Based on Best Practice in Industry
กล่าวโดยสรุป SAP (System Application products) เป็นโปรแกรมสำเร็จรูปทางธุรกิจประเภท ERP (Enterprise Resource Planning)
ของประเทศเยอรมันที่ใช้ควบคุมดูแลทุกสายงานของบริษัท
Application Module หลักๆในระบบ SAP
* FI Financial Accounting หรือโมดูลทางด้านบัญชีการเงิน
* CO Controlling หรือโมดูลทางด้านบัญชีจัดการหรือบัญชีบริหาร
* AM Fixed Assets Management หรือโมดูลทางด้านการจัดกาสินทรัพย์ถาวร
* SD Sale & Distributions หรือโมดูลทางด้านขายและการกระจายสินค้า
* MM Material Management หรือโมดูลทางด้านการจัดการวัตถุดิบ
* PP Production Planning หรือโมดูลทางด้านการวางแผนการผลิต
* QM Quality Management หรือโมดูลทางด้านการจัดการด้านคุณภาพ
* PM Plant Maintenance หรือโมดูลทางด้านการซ่อมบำรุงโรงงาน
* HR Human Resource หรือโมดูลทางด้านการจัดการทรัพยากรบุคคล
* TR Treasury หรือโมดูลทางด้านการบริหารการเงิน
* WF Workflow หรือโมดูลทางด้าน Flow ของกระบวนการทำงาน
* IS Industry Solutions คือส่วนระบบงานธุรกิจเฉพาะ โดยที่ไม่ใช่โมดูลมาตร
* Project Systems - PS
* System Management - BASIS
* Advanced Business Application Programming - ABAP
* Business Information Warehousing - BIW
* Customer Relationship Management - CRM
* Advanced Planner Optimizer - APO
* Product Lifecycle Management - PLM
ที่มา : http://mfatix.com/home/node/43
ปล.เห็นว่่าน่าสนใจดี เผื่อบางคนยังไม่รู้ ^o^
เพิ่มเติม : ปัจจุบันโปรแกรม ERP ที่มีผู้ใช้กันแบ่งได้ตามขนาดขององค์กรคือ องค์กรขนาดใหญ่ จะใช้โปรแกรม SAP, Oracle Application
องค์กรระดับกลาง จะใช้โปรแกรม Navision, PeopleSoft, MySAP โปรแกรม ERP ภายในประเทศ
และองค์กระดับเล็ก จะใช้โปรแกรม JDE หรือโปรแกรม ERP ภายในประเทศ
การที่แต่ละองค์กรจะเลือกใช้โปรแกรม ERP ไหนนั้นควรจะคำนึงถึงในเรื่องของความเหมาะสมของโปรแกรมว่ารองรับกับการทำงานได้มากน้อยขนาดไหน
องค์กรจะต้องปรับตัวเข้ากับการทำงานของโปรแกรมหรือไม่ และองค์กรสามารถจ่ายค่าโปรแกรมและค่าที่ปรึกษาได้หรือไม่
ระบบERP
ไม่มีคำว่าสายเกินไปสำหรับการพัฒนา ปรับปรุงขบวนการ เพื่อเปลี่ยนสถานภาพจากเชิงรับไปเป็นเชิงรุก หรือถ้าเป็นเชิงรุกอยู่ก็ให้รุกมากขึ้น ไม่เพียงแค่ได้ตรงตามความต้องการ (Expectation) แต่ต้องให้เหนือกว่าความต้องการ (Beyond Expectation) ................ทำไมเราจะไม่เริ่มเสียตั้งแต่วันนี้ ?
หากคุณต้องการเพิ่มกำไร ขยายตลาด มัดใจลูกค้า ใช้ทรัพยากรคุ้มค่า และแซงขาดคู่แข่ง
“ผู้บริหารสมัยใหม่ไม่สามารถปฏิเสธได้ว่าระบบสารสนเทศนั้นมีประโยชน์ต่อองค์กรมากมายเพียงไร” วันนี้เราจึงมาดูกันว่า ระบบสารสนเทศที่เป็นซอฟท์แวร์ ERP (Enterprise Resources Planning) ทำไมถึงเข้ามามีบทบาทต่อการบริหารและการทำธุรกิจสมัยใหม่ (Modern Management and New Economy) และ ซอฟท์แวร์ ERP ที่ดีควรเป็นอย่างไร ?
ซอฟท์แวร์ ERP เป็นระบบสารสนเทศที่เข้าไปอำนวยความสะดวกในการทำงานทุกกระบวนการ (business process) และในทุกหน่วยงานขององค์การ เพื่อเชื่อมโยงข้อมูลของทุกกระบวนการและทุกหน่วยงานนั้นเข้าสู่ฐานข้อมูลส่วนกลางที่เป็นฐานข้อมูลเดียวกัน (Single Database) ทั้งนี้เพื่อทำให้ทุกหน่วยงานมีข้อมูลที่เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ลดเวลาการทำงาน ลดการทำงานที่ซ้ำซ้อน ลดความผิดพลาดและความขัดแย้งที่อาจจะเกิดขึ้นเนื่องการสื่อสารระหว่างหน่วยงานภายในกันเอง หรือกับหน่วยงานภายนอก ซึ่งส่งผลโดยตรงต่อการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดในทุก ๆ กระบวนการของธุรกิจให้ได้ประโยชน์อย่างสูงสุด แต่ ERP ไม่ได้เป็นเพียงแค่เครื่องมือในการจัดการในระดับการปฏิบัติงาน business transaction เท่านั้นแต่ยังสามารถช่วยผู้บริหารสำหรับการตัดสินใจระดับ Tactical level ด้วย
ยกตัวอย่างเช่น การวิเคราะห์งบการเงิน (Financial Analysis) ผู้บริหารสามารถได้ข้อมูลทันทีและถูกต้องเมื่อต้องการ ทำให้การตัดสินใจอยู่บนพื้นฐานของความถูกต้อง (Management by fact) เป็นต้น
ยกตัวอย่างเช่น การวิเคราะห์งบการเงิน (Financial Analysis) ผู้บริหารสามารถได้ข้อมูลทันทีและถูกต้องเมื่อต้องการ ทำให้การตัดสินใจอยู่บนพื้นฐานของความถูกต้อง (Management by fact) เป็นต้น
ในแต่ละวันนั้นชั่วโมงการทำงานของพนักงานมีจำกัดเพียงคนละ 7-8 ชั่วโมง หากเรากำลังต้องการขยายธุรกิจ ขยายตลาด ขยายโอกาสเพื่อรองรับจำนวนลูกค้าที่มีปริมาณมากขึ้น โดยยังคงรักษาระดับของต้นทุนการบริหารมิให้เกิดการเปลี่ยแปลงในเชิงบวก องค์การของเราจะต้องเตรียมวิธีการรองรับการจัดทำเอกสาร (Operational Transaction) ที่เกี่ยวข้องกับลูกค้าทั้งภายในและภายนอกเหล่านั้นวันละเป็นร้อย ๆ หรือ พัน ๆ ใบ ต่อวัน ท่านคิดว่าจะต้องใช้พนักงานจำนวนมากเพียงไร หรือต้องเพิ่มเวลา OT (Over Time) มากเท่าไร หากยังคงต้องทำงานด้วยวิธีแบบเดิม ๆ คือ การทำงานด้วยระบบ Manual ในกระบวนการทำงานในขั้นตอนต่าง ๆ เช่น ขบวนการออกบิลให้ลูกค้า ขบวนการวางแผนผลิต ขบวนการจัดซื้อ ขบวนการจัดการกับลูกหนี้และเจ้าหนี้ การวางบิล ขบวนการควบคุมสินค้าคงคลัง ขบวนการทางด้านบัญชีและการเงิน บัญชีเงินฝากและธนาคาร ที่กล่าวมานี้เป็นเพียงแค่เรื่องของภาระงานปกติเท่านั้นยังไม่รวมถึงเวลาที่ต้องใช้ในการทำให้ข้อมูลถูกต้อง ยิ่งไปกว่านั้นเราได้ใช้ทรัพยากรที่ถือได้ว่ามีคุณค่า(Most valuable resources) สำหรับบริษัทได้เหมาะสมหรือไม่
ตัวช่วยที่สำคัญเพื่อเตรียมความพร้อมสำหรับรองรับโอกาสเหล่านี้ ก็คือการนำเทคโนโลยีซอฟท์แวร์ระบบ ERP มาใช้เพื่อลดความซ้ำซ้อน ซับซ้อน และลดเวลาการทำงานเดิมและหาโอกาสเพิ่มมูลค่างานของพนักงานเหล่านั้น เช่น การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานในส่วนที่เกี่ยวข้อง เช่น ผลของการติดตามลูกหนี้ที่เกิดขึ้น การสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้า รวมถึงการหาโอกาสเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน การจัดทำรายงานนำเสนอกับผู้บริหารเพื่อประกอบการตัดสินใจ ที่ถูกต้อง แม่นยำและรวดเร็ว โดยเฉพาะเพื่อให้ผู้บริหารมีข้อมูลที่ทันสมัยและรวดเร็ว ในการวิเคราะห์จุดอ่อน จุดแข็ง โอกาส อุปสรรคของบริษัทเพื่อสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน
วันนี้อาจมีผู้บริหารหลายท่านกำลังมองหาวิธีการหรือเครื่องมือเพื่อช่วยให้ต้นทุนในองค์กรของคุณต่ำลงในระยะยาว นั่นคือคุณอาจกำลังมองหาซอฟท์แวร์ระบบ ERP เข้ามา ช่วยในการทำงานขององค์การอยู่ แต่มีอยู่ประเด็นหนึ่งที่ผู้บริหารไม่ควรหลงเข้าใจผิดไปกับคำโฆษณาของผู้ผลิตซอฟท์แวร์ ERPทั้งหลาย เพราะบางซอฟท์แวร์นั้นเป็นเพียงแค่ซอฟท์แวร์เพื่อการออกบิล หรือการบัญชี เพียงเท่านั้น ดังนั้นจึงต้องพิจารณาให้ดีก่อนการตัดสินใจเลือกซื้อ
ตัวช่วยที่สำคัญเพื่อเตรียมความพร้อมสำหรับรองรับโอกาสเหล่านี้ ก็คือการนำเทคโนโลยีซอฟท์แวร์ระบบ ERP มาใช้เพื่อลดความซ้ำซ้อน ซับซ้อน และลดเวลาการทำงานเดิมและหาโอกาสเพิ่มมูลค่างานของพนักงานเหล่านั้น เช่น การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานในส่วนที่เกี่ยวข้อง เช่น ผลของการติดตามลูกหนี้ที่เกิดขึ้น การสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้า รวมถึงการหาโอกาสเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน การจัดทำรายงานนำเสนอกับผู้บริหารเพื่อประกอบการตัดสินใจ ที่ถูกต้อง แม่นยำและรวดเร็ว โดยเฉพาะเพื่อให้ผู้บริหารมีข้อมูลที่ทันสมัยและรวดเร็ว ในการวิเคราะห์จุดอ่อน จุดแข็ง โอกาส อุปสรรคของบริษัทเพื่อสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน
วันนี้อาจมีผู้บริหารหลายท่านกำลังมองหาวิธีการหรือเครื่องมือเพื่อช่วยให้ต้นทุนในองค์กรของคุณต่ำลงในระยะยาว นั่นคือคุณอาจกำลังมองหาซอฟท์แวร์ระบบ ERP เข้ามา ช่วยในการทำงานขององค์การอยู่ แต่มีอยู่ประเด็นหนึ่งที่ผู้บริหารไม่ควรหลงเข้าใจผิดไปกับคำโฆษณาของผู้ผลิตซอฟท์แวร์ ERPทั้งหลาย เพราะบางซอฟท์แวร์นั้นเป็นเพียงแค่ซอฟท์แวร์เพื่อการออกบิล หรือการบัญชี เพียงเท่านั้น ดังนั้นจึงต้องพิจารณาให้ดีก่อนการตัดสินใจเลือกซื้อ
หากซอฟท์แวร์ ERP รองรับการทำงานในกระบวนการต่าง ๆ ในองค์กรได้อย่างทั่วทั้งองค์กรไม่ว่าจะเป็น ระบบงานขาย ระบบการจัดซื้อ ระบบการบริหารและควบคุมสินค้าคงคลัง ระบบบริหารเจ้าหนี้และลูกหนี้ ระบบบัญชีและการเงินแล้ว ERP ที่ดีน่าจะช่วยท่านตอบคำถามเหล่านี้ได้ด้วย ดังเช่นตัวอย่างแสดงดังนี้
• สินค้าตัวไหนที่ทำกำไรให้บริษัทได้สูงสุด
• การขายสินค้าให้ลูกค้ารายใด ที่ทำกำไรให้บริษัทได้สูงสุด
• ต้องการเปรียบเทียบยอดขายของลูกค้าทุกรายในเดือนที่แล้ว
• ต้องการเปรียบเทียบยอดขายของสินค้าทุกชนิดในเดือนที่แล้ว
• สินค้าใดที่ยังไม่มีการขายบ้างในช่วงไตรมาสที่ผ่านมา
• บริษัทมียอดซื้อจากผู้จำหน่ายรายใดมากที่สุด
• สินค้าตัวนี้เคยซื้อครั้งล่าสุดจากใคร ราคาเท่าใด
• ต้องการเปรียบเทียบยอดซื้อของผู้จำหน่ายทุกรายในเดือนที่แล้ว
• การสั่งซื้อครั้งนี้ เกินงบประมาณที่จัดสรรไว้ตั้งแต่ต้นปีหรือยัง
• อายุหนี้ของลูกหนี้ และ เจ้าหนี้ แต่ละรายเป็นอย่างไร และเฉลี่ยเท่าใด
• ต้องการทราบว่าสินค้าใดบ้างที่ถึงจุดสั่งซื้อ และมียอดคงเหลือในคลังสินค้าอยู่เท่าใด และควรจะสั่งซื้อเท่าใด จากผู้จำหน่ายรายใด จึงจะเหมาะสมที่สุด
• การขายสินค้าให้ลูกค้ารายใด ที่ทำกำไรให้บริษัทได้สูงสุด
• ต้องการเปรียบเทียบยอดขายของลูกค้าทุกรายในเดือนที่แล้ว
• ต้องการเปรียบเทียบยอดขายของสินค้าทุกชนิดในเดือนที่แล้ว
• สินค้าใดที่ยังไม่มีการขายบ้างในช่วงไตรมาสที่ผ่านมา
• บริษัทมียอดซื้อจากผู้จำหน่ายรายใดมากที่สุด
• สินค้าตัวนี้เคยซื้อครั้งล่าสุดจากใคร ราคาเท่าใด
• ต้องการเปรียบเทียบยอดซื้อของผู้จำหน่ายทุกรายในเดือนที่แล้ว
• การสั่งซื้อครั้งนี้ เกินงบประมาณที่จัดสรรไว้ตั้งแต่ต้นปีหรือยัง
• อายุหนี้ของลูกหนี้ และ เจ้าหนี้ แต่ละรายเป็นอย่างไร และเฉลี่ยเท่าใด
• ต้องการทราบว่าสินค้าใดบ้างที่ถึงจุดสั่งซื้อ และมียอดคงเหลือในคลังสินค้าอยู่เท่าใด และควรจะสั่งซื้อเท่าใด จากผู้จำหน่ายรายใด จึงจะเหมาะสมที่สุด
จากคำถามดังกล่าวมาแล้วนั้นลองย้อนกลับไปคิดว่า หากท่านสามารถทราบคำตอบของคำถามเหล่านี้ได้ตลอดเวลาที่ต้องการ จะมีประโยชน์ต่อท่านหรือผู้บริหารในการวางแผนทรัพยากร หรือหาทางเพิ่มมูลค่าทรัพยากรในองค์กรได้มากเพียงไร นั่นจึงเป็นสิ่งที่เราน่าจะได้รับจากการนำซอฟท์แวร์ ERP มาใช้ให้เกิดมูลค่าเพิ่มทางธุรกิจอีกต่อหนึ่ง
ท่านจะเห็นว่าทรัพยากรในที่นี้สามารถมองได้หลายมุมมอง เช่น ทรัพย์สิน เงินทุนหมุนเวียน เงินลงทุน มูลค่า หนี้สินของลูกหนี้ และเจ้าหนี้ บุคลากรและแรงงาน เวลาการทำงาน และส่วนที่ขาดไม่ได้ในธุรกิจก็คือสินค้าคงคลัง ทั้งที่เป็นวัตถุดิบ ผลิตภัณฑ์ และอื่น ๆ ซึ่งล้วนเป็นทรัพยากรที่ต้องบริหารให้ประสานสอดคล้องกับกระบวนการการทำงานในทุก ๆ ส่วนของธุรกิจ เพื่อให้เกิดความพร้อมในการแข่งขัน รองรับโอกาสทางการค้า สร้างความพึงพอใจกับลูกค้า พนักงาน และบริษัทสามารถทำกำไร
ERP สามารถทำให้เกิดการบริหารทั้งองค์รวมและพัฒนาองค์การให้ทันสมัย ทันโลกที่เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วจนไม่สามารถหยุดยั้งได้ เราจะต้องเตรียมระบบในองค์กรให้พร้อม และมีความยืดหยุ่นเพื่อสามารถปรับตัวในสถานการณ์ได้อย่างรวดเร็ว เพื่อเป็นการสร้างข้อได้เปรียบในการแข่งขันในยุคเศรษฐกิจสมัยใหม่ (New Economy)
วีดีโอประกอบ ของระบบ ERP
วีดีโอประกอบ ของระบบ SAP
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น